หน้าหลัก
เกี่ยวกับเกาะหมาก
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร
อำนาจหน้าที่ของ อบต
วิสัยทัศน์
ประวัติ
ประชากร
ยุทธศาตร์และแนวทาง
ตราประจำองค์กร
คำสั่ง อบต
บุคลากร
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างส่วนราชการ
ผู้บริหารส่วนราชการ
สำนักงานปลัด
กองคลัง
กองช่าง
คู่มือประชาชน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การบริหารงาน
การบริหารเงินงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี รอบ6เดือน
รายงานผลการใช้จ่างงบประมาณประจำปี
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือจัดหาพัสดุ
ประกาศต่างๆเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
การส่งเสริมความโปร่งใส
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต 3 ปี
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กร
แผนปฏบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ6เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการส่งเสริมคุณะรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
บริการประชาชน
ประกาศจาก อบต
ข่าวประชาสัมพันธ์
การจัดซื้อจัดจ้าง
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
การจัดการขยะชุมชน
งานป้องกันภัย
งานสาธารณสุข
ถามตอบ
สาระน่ารู้จาก อบต
แจ้งเรื่องร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องทุกข์
ท่องเที่ยวบนเกาะหมาก
กิจกรรมโลว์คาร์บอน
กิจกรรมท่องเที่ยว
ที่พักบนเกาะหมาก
การเดินทาง
กองทุนช่วยเหลือเยียวยานักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
(Foreign Tourists Assistance Fund)
สมุดภาพ
ภาพถ่าย
คลิปวีดีโอ
ติดต่อเรา
Sitemap
แบบสอบถามความพึงพอใจ
สมุดเยี่ยม
การบริหารงาน
“การคมนาคมสะดวก ประชาชนมั่งคั่ง สังคมคุณภาพ”
แผนดำเนินงานประจำปี 2564
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ6เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
คู่มือมาตรฐานการให้บริการ
คู่มือเชิงสถิติการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
E-Service
ประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี (รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566)(pdf)
แผนพัฒนา 5 ปี (pdf)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดตราด
วิสัยทัศน์
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น “เป็นองค์กรที่มีการจัดบริการสาธารณะที่เป็นเลิศ มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสังคมอยู่ดีมีสุข และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ภายใต้หลักปรัชญา
“เศรษฐกิจพอเพียง”
พันธกิจ
1. พัฒนาระบบการบริหารการจัดการที่ดีขององค์กร โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและให้ความสำคัญกับการจัดการความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น
2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความทันสมัย และมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
3. พัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีคุณภาพ มีคุณธรรม มีความรอบรู้ และมีความพอประมาณ
4. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้ ความสามารถ และทักษะการประกอบอาชีพ ให้มีความมั่นคงในการดารงชีวิต
5. พัฒนาระบบการจัดการศึกษาของท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเข้มแข็ง และมีศักยภาพ โดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวทางปฏิบัติควบคู่กับการพัฒนาแบบองค์รวม
7. พัฒนาระบบบริการสาธารณะ โครงสร้างพื้นฐาน และระบบโครงข่ายการคมนาคม ให้มีมาตรฐานและทั่วถึง เพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน
8. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมและยั่งยืน
9. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดภายใต้หลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และสามารถเป็นประตูการท่องเที่ยวสู่ภูมิภาคอินโดจีน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา
๑. ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
๑.๑ ก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมเส้นทางการคมนาคมให้มีมาตรฐานและทั่วถึง
๑.๒ พัฒนาและปรับปรุงแหล่งน้ำสาธารณะ เพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
๑.๓ พัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ทั่วถึงและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
๑.๔ พัฒนางานด้านการผังเมือง และการควบคุมอาคาร
๒. ยุทธศาสตร์ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต
๒.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการบริการทางสังคม การสังคมสงเคราะห์คุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา ผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการ
๒.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนให้มีสุขภาพแข็งแรง และได้รับบริการทางสาธารณสุขอย่างทั่วถึง
๒.๓ ส่งเสริมด้านที่พักอาศัยให้แก่ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากจน ให้มีที่อยู่อาศัย
๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้แก่ประชาชนให้มีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย และสามารถดารงชีพได้อย่างเหมาะสม
๓. ยุทธศาสตร์ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
๓.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาประชาธิปไตยภาคพลเมือง การพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน สนับสนุนการจัดทาระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนาชุมชน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาชุมชนความเสมอภาค สิทธิเสรีภาพ
๓.๒ พัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยนาข้อมูลการเกิดสาธารณภัยในท้องถิ่นมาวิเคราะห์หาแนวทางป้องกัน หรือลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น
๓.๓ ส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย
๓.๔ ส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด และอบายมุข
๔. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว
๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกอบรม การฝึกอาชีพ และสร้างอาชีพให้แก่กลุ่มเกษตรกรและประชาชน
๔.๒ ส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นแก่คนในชุมชนเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ชุมชน และมุ่งเน้นให้เกิดการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการตลาดและการกระจายผลผลิตของเกษตรกร
๔.๔ พัฒนาและส่งเสริมการค้า การลงทุน การค้าตามแนวชายแดนและภูมิภาคอินโดจีน
๔.๕ พัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่เดิมให้มีศักยภาพและมีมาตรฐานและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแหล่งใหม่ๆ
๔.๖ ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดตราด
๔.๗ ส่งเสริมและรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว
๕. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
๕.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการและการสร้างองค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๕.๒ ส่งเสริมสนับสนุนและรณรงค์ให้ประชาชนมีจิตสานึกหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๕.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการควบคุม คุ้มครองและการบังคับใช้กฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๕.๔ ส่งเสริมและฟื้นฟูสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนให้การท่องเที่ยวเป็นแบบเชิงนิเวศน์
๕.๕ จัดให้มีระบบการกาจัดขยะ ระบบบาบัดน้ำเสีย และการแก้ไขปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
๕.๖ ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน
๕.๗ ส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อลดภาวะโลกร้อน
๖. ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา การกีฬา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๖.๑ ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา
๖.๒ ส่งเสริมและพัฒนากีฬาและนันทนาการ
๖.๓ สร้างจิตสานึกให้เด็ก เยาวชน ประชาชนรักและหวงแหนประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
๖.๔ อนุรักษ์และส่งเสริมศาสนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพย์สินทางปัญญา
๗. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการที่ดีและการบริการสาธารณะ
๗.๑ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่น
๗.๒ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในองค์กรและชุมชน โดยการส่งเสริมระบบคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ สร้างจิตสานึกและเพิ่มสมรรถนะให้แก่บุคลากรภาครัฐ
ในการนโยบายและกฎหมายไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๗.๓ เสริมสร้างความเข้มแข็งโดยกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามระบอบประชาธิปไตย ในการร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบในกิจกรรมที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพประชาชน
๗.๔ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และให้บริการที่ดีแก่ประชาชน
๗.๕ จัดหา/ปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ รวมตลอดถึงครุภัณฑ์ สาหรับใช้ในการปฏิบัติงานและพัฒนาระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร และระบบสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก
จากการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนจากแบบสอบถาม นโยบายของผู้บริหารส่วนท้องถิ่น และกรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดซึ่งกำหนดโดยคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ทาให้สามารถกำหนดยุทธศาสตร์ และ
วิสัยทัศน์ของตำบล ดังนี้
“เกาะหมากท้องถิ่นน่าอยู่ บูรณาการการพัฒนา ธรรมาภิบาลเข้มแข็ง”
ฉะนั้น กรอบแนวทางการดำเนินงานเพื่อสร้างตำบลให้น่าอยู่แบ่งเป็น 5 ด้าน ดังนี้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก แบ่งออกเป็น 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและผังเมือง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดระเบียบสังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเศรษฐกิจ การวางแผน ส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาการศึกษา การกีฬา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์
๑. โครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค สาธารณูปการได้มาตรฐานทั่วถึง
๒. จัดหาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
๓. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนเพื่อเพิ่มรายได้
๔. ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมสู่แหล่งท่องเที่ยว
๕. การพัฒนาบุคลากรการบริหารและประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
๖. พัฒนาระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
๗. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน
๘. ส่งเสริมการประชาคมและการมีส่วนร่วมของประชาชน
๙. ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมโครงการตามแนวทางพระราชดาริ
๑๐. ส่งเสริมทะนุบารุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและรัฐพิธี
๑๑. การพัฒนาการจัดเก็บรายได้
๑๒. การอนุรักษ์ฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อการดารงชีวิต
๑๓. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด
1. การพัฒนาการคมนาคมขนส่งที่ได้มาตรฐาน
2. ก่อสร้าง ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมอย่างทั่วถึง
3. ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็วในการคมนาคม
4. พื้นที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงสาธารณูปโภค สาธารณูปการอย่างทั่วถึง
5. ครัวเรือนที่มีน้าอุปโภค บริโภคที่ได้มาตรฐาน
6. ประชาชนมีน้าใช้สาหรับอุปโภค บริโภค และการเกษตรอย่างพอเพียง
7. ประชาชนได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง
8. แหล่งท่องเที่ยวได้รับการพัฒนา
9. ประชาชนในตำบลเกาะหมากมีรายได้เพิ่มขึ้น
10. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
11. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับประโยชน์จากการศึกษา
12. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการสนับสนุนอาหารกลางวัน อาหารเสริมนม รวมทั้งพัฒนาอาคารสถานที่และระบบบริหารจัดการ
13. ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการประชาคม
14. ประชาชนได้ใช้สิทธิในการเลือกตั้งตามระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น
15. ประชนได้รับสวัสดิการสังคม สงเคราะห์ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ ผู้สูงอายุทั้ง 9 หมู่บ้าน
16. ประชาชนได้รับการส่งเสริมขนมธรรมเนียม จารีตประเพณี ทานุบารุงศาสนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น
17. ประชาชนมีความพึงพอใจในการจัดเก็บรายได้ และการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
18. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปลอดจากเรื่องร้องเรียนในการบริหารงานที่ขาดธรรมาภิบาล
19. สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติได้รับการพัฒนา ฟื้นฟู และอนุรักษ์
20. สภาพแวดล้อมของตำบลเกาะหมาก ปลอดขยะ สวยงาม น่าอยู่
ค่าเป้าหมาย
1. ประชาชนได้ใช้เส้นทางคมนาคมที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย
2. มีแหล่งน้าพอเพียงต่อการอุปโภคบริโภคและทาการเกษตร
3. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
4. การศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน และเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
5. ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุข มีสุขภาพแข็งแรง
6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล
7. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
8. ประชาชนได้ร่วมกิจกรรมส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรม การท่องเที่ยว กีฬาและนันทนาการของท้องถิ่น
9. สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติได้รับการฟื้นฟูและอนุรักษ์
กลยุทธ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานและผังเมือง
แนวทางที่ ๑ จัดระบบคมนาคม พัฒนาเส้นทางคมนาคมให้ได้มาตรฐานครอบคลุมทั่วถึง
แนวทางที่ 2 พัฒนาแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค พัฒนาปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค
แนวทางที่ 3 พัฒนาระบบผังเมืองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิต
แนวทางที่ 1 พัฒนาการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน
แนวทางที่ 2 ส่งเสริมการประชาคม และมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวทางที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมโครงการตามแนวพระราชดาริ
แนวทางที่ 4 ส่งเสริมสนับสนุนการสังเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
แนวทางที่ 5 ส่งเสริมสนับสนุนการสาธารณสุข สุขภาพอนามัย และโรคติดต่อ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดระเบียบสังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
แนวทางที่ 1 พัฒนาระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
แนวทางที่ 2 สนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
แนวทางที่ 3 สนับสนุน ส่งเสริมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเศรษฐกิจ วางแผน ส่งเสริมการลงทุน การพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
แนวทางที่ 1 จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในการจัดบริการสาธารณะ
แนวทางที่ 2 พัฒนาองค์กรให้มีความเหมาะสมตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แนวทางที่ 3 พัฒนาส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ
แนวทางที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของประชาชนเพื่อเพิ่มรายได้
แนวทางที่ 5 จัดหาและพัฒนาแหล่งน้าเพื่อการเกษตร
แนวทางที่ 6 ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมสู่แหล่งท่องเที่ยว
แนวทางที่ 7 พัฒนาและปรับปรุงสถานที่ท่องเที่ยว
แนวทางที่ 8 พัฒนาบุคลากร การบริการ และการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
แนวทางที่ 9 พัฒนาการจัดเก็บรายได้
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางที่ 1 จัดการและหลีกเลี่ยงผลกระทบจากภัยธรรมชาติ
แนวทางที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อการดารงชีวิต
แนวทางที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาการจัดการน้าเสีย การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
แนวทางที่ 4 รักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดินและที่สาธารณะ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาการศึกษา กีฬา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
แนวทางที่ 1 ส่งเสริมทานุบารุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและรัฐพิธี
แนวทางที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพรและการแพทย์ฉุกเฉิน
จุดยืนทางยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
- พัฒนาชุมชนให้น่าอยู่มีความเข้มแข็ง โดยได้รับบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานตามมาตรฐานและทั่วถึง
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต
- ส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีของประชาชน
- ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษา กระบวนการเรียนรู้
- ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม
3. ยุทธศาสตร์การจัดระเบียบสังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
- ส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และจากภัยธรรมชาติ
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ การวางแผน ส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและท่องเที่ยว
- ส่งเสริม พัฒนาศักยภาพคนและความเข้มแข็งของชุมชนในการพึ่งตนเอง และดารงชีวิตอย่างมีความสุข
- พัฒนาการบริหารจัดการองค์กรโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
- พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และรายได้ของประชาชน
5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- รักษาสภาวะแวดล้อมและสมดุลทางธรรมชาติด้วยพลังทางสังคม
- พัฒนาและส่งเสริมการเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและภัยพิบัติ
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา การกีฬา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ส่งเสริมทานุบารุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น